GraphQL vs REST

GraphQL และ REST คือสองแนวคิดในการออกแบบและการสื่อสารระหว่าง client และ server ในโลกของเว็บแอปพลิเคชัน โดยมีความแตกต่างกัน

🆚 Comparison

AspectGraphQLREST

Data Fetching

Single request to fetch data

Multiple requests to different endpoints

API Versioning

No versioning needed, evolves through schema

Versioning typically required

Flexibility

Clients can request exactly what they need

Fixed endpoints with defined responses

Over-fetching

Avoids over-fetching by selecting fields

Often results in over-fetching

Under-fetching

Avoids under-fetching by nesting queries

Can result in under-fetching, requiring more requests

Schema and Type System

Strongly typed schema

No inherent type system

Performance

Can be more efficient with fewer requests

Can be less efficient with multiple endpoints

Learning Curve

Steeper learning curve

More straightforward and widely understood

Error Handling

Standardized error responses

Varies by implementation

Caching

More complex due to single endpoint

Simplified caching with HTTP protocols

Batching and Caching

Supports batching and deduplication

Requires custom solutions

Tooling and Ecosystem

Growing tooling and libraries

Mature and extensive tooling and libraries

Security

Requires careful implementation of security

Mature security practices

Real-time Updates

Supports subscriptions for real-time updates

Typically relies on WebSockets or polling

Documentation

Self-documenting with introspection

Requires separate documentation

Deployment Complexity

Can be complex due to schema stitching

Typically simpler and well understood

🅰️ GraphQL

Data fetching : โดย client สามารถร้องขอข้อมูลที่ต้องการ เพียงระบุ fields ที่ต้องการในข้อมูล และ server จะส่งข้อมูลกลับเฉพาะ fields นั้น ซึ่งช่วยลดการโหลดข้อมูลที่ไม่จำเป็นตอน response

Writing and Maintenance : ไม่จำเป็นต้องสร้าง endpoint ใหม่เพื่อ actions แต่จะใช้ schema ที่ถูกกำหนดไว้ล่วงหน้า (predefined schema) และ resolver functions ที่สอดคล้องกับ schema เพื่อจัดการกับข้อมูล ซึ่งสามารถขยาย schema ได้ตามความต้องการ

Error handling : มี error handling ที่ยืดหยุ่นกว่า ซึ่งสามารถรวมข้อผิดพลาดหลาย ๆ อย่างได้ใน response เดียว และ client สามารถระบุ errors ที่ต้องการจาก query นั้น ๆ

Performance : สำหรับแอปพลิเคชันที่ต้องการดึงข้อมูลหลาย ๆ ชุดพร้อม ๆ กัน GraphQL อาจช่วยลดจำนวน request ที่ต้องใช้งานลงไป และลดการโหลดข้อมูลที่ไม่จำเป็น ซึ่งอาจช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในบางกรณีได้

fragment FilmInfo on Film {
  title
  director
  producers
  releaseDate
}

query Films {
  allFilms {
    totalCount
    films {
      created
      releaseDate
      openingCrawl
      ...FilmInfo
    }
  }
}

🅱️ REST

Data fetching : ข้อมูลถูกแบ่งออกเป็นแต่ละ endpoint ที่สามารถถูกเรียกใช้งานได้โดยแต่ละ endpoint จะส่งคืนข้อมูลที่ถูกกำหนดไว้ล่วงหน้า (predefined) โดย Client จะต้องเรียก endpoint ต่าง ๆ เพื่อรับข้อมูลที่ต้องการ

Writing and Maintenance : การออกแบบ REST API มักจะแยก endpoint ตาม (actions) และ (data) ซึ่งอาจทำให้มีจำนวน endpoint มากขึ้นเมื่อมีการเพิ่มฟังก์ชันใหม่ ๆ ในระบบ

Error handling : มักจะใช้ HTTP status codes เพื่อระบุสถานะของการทำงาน เช่น 200 OK, 404 Not Found, 500 Internal Server Error เป็นต้น

Performance : ในบางกรณี REST API อาจมีประสิทธิภาพที่ดีกว่า GraphQL เนื่องจาก REST API ส่งข้อมูลที่ถูกกำหนดไว้ล่วงหน้า และไม่มีความซับซ้อนในการประมวลผล query

Last updated